อนัตตลักขณะสูตร (หน้า ๓)

ตัสมาติหะ  ภิกขะเว,

เพราะเหตุนั้นแล ภิกษุทั้งหลาย,


ยังกิญจิ  รูปัง,

รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง,


อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนัง,

ที่เป็นอดีตก็ดี อนาคตก็ดี ปัจจุบันก็ดี,


อัชฌัตตัง  วา  พะหิทธา  วา,

ภายในก็ดี ภายนอกก็ดี,


โอฬาริกัง  วา  สุขุมัง  วา,

หยาบก็ดี ละเอียดก็ดี,


หีนัง  วา  ปะณีตัง  วา,

เลวก็ดี ประณีตก็ดี,


ยันทูเร  สันติเก  วา,

อันใดมีในที่ไกลก็ดี ในที่ใกล้ก็ดี,


สัพพัง  รูปัง,

รูปทั้งหมดก็เป็นสักว่ารูป,


เนตัง  มะมะ,

นั่นไม่ใช่ของเรา,


เนโสหะมัสมี,

เราไม่เป็นนั่นเป็นนี่,


นะ  เมโส  อัตตาติ,

นั่นไม่ใช่ตนของเรา ดังนี้,


เอวะ  เมตัง  ยะถาภูตัง,

ข้อนี้ท่านทั้งหลาย พึงเห็นด้วยปัญญา


สัมมัปปัญญายะ  ทัฏฐัพพัง,

อันชอบ ตามเป็นจริงแล้วอย่างนี้,



ยากาจิ  เวทะนา,

เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง,


อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนา,

ที่เป็นอดีตก็ดี อนาคตก็ดี ปัจจุบันก็ดี,


อัชฌัตตัง  วา  พะหิทธา  วา,

ภายในก็ดี ภายนอกก็ดี,


โอฬาริกา  วา  สุขุมา  วา,

หยาบก็ดี ละเอียดก็ดี,


หีนา  วา  ปะณีตา  วา,

เลวก็ดี  ประณีตก็ดี,


ยา  ทูเร  สันติเก  วา,

อันใดมีในที่ไกลก็ดี ในที่ใกล้ก็ดี,


สัพพา  เวทะนา,

เวทนาทั้งหมดก็เป็นสักว่าเวทนา,


เนตัง  มะมะ,

นั่นไม่ใช่เรา


เนโสหะมัสมี,

เราไม่เป็นนั่นเป็นนี่,


เอวะเมตัง  ยะถาภูตัง

ข้อนี้อันท่านทั้งหลาย พึงเห็นด้วยปัญญา


สัมมัปปัญญายะ  ทัฏฐัพพัง,

อันชอบตามเป็นจริงแล้วอย่างนี้,



ยากาจิ  สัญญา,

สัญญาอย่างใดอย่างหนึ่ง,


อะตีตานาคะตะปัจจุปันนา,

ที่เป็นอดีตก็ดี อนาคตก็ดี ปัจจุบันก็ดี,


อัชฌัตตังวา  พะหิทธา  วา,

ภายในก็ดี ภายนอกก็ดี,


โอฬาริกา  วา  สุขุมา  วา,

หยาบก็ดี ละเอียดก็ดี,


หีนา  วา  ปะณีตา  วา,

เลวก็ดี  ประณีตก็ดี,


ยา  ทูเร  สันติเก  วา,

อันใดมีในที่ไกลก็ดี  ในที่ใกล้ก็ดี,


สัพพา  สัญญา,

สัญญาทั้งหมดก็เป็นสักว่าสัญญา,


เนตัง  มะมะ,

นั่นไม่ใช่ของเรา,


เนโสหะมัสมิ,

เราไม่เป็นนั่นเป็นนี่,


นะ  เมโส  อัตตาติ,

นั่นไม่ใช่ตนของเรา ดังนี้,


เอวะเมตัง  ยะถาภูตัง,

ข้อนี้อันท่านทั้งหลาย พึงเห็นด้วยปัญญา


สัมมัปปัญญายะ  ทัฏฐัพพัง,

อันชอบด้วย ตามเป็นจริงแล้วอย่างนั้น,



เย  เกจิ  สังขารา,

สังขารทั้งหลายเหล่าใดเหล่าหนึ่ง,


อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนา,

ที่เป็นอีตก็ดี อนาคตก็ดี ปัจจุบันก็ดี,


อัชฌัตตังวา  พะหิทธา  วา,

ภายในก็ดี ภายนอกก็ดี,


โอฬาริกกา  วา  สุขุมา  วา,

หยาบก็ดี  ละเอียดก็ดี,


หีนา วา  ปะณีตา  วา,

เลวก็ดี ประณีตก็ดี,


เย  ทูเร  สันติเก  วา,

เหล่าใด มีในที่ไกลก็ดี ในที่ใกล้ก็ดี,


สัพเพ  สังขารา,

สังขารทั้งหลายทั้งหมด ก็เป็นสักว่าเสังขาร,


เนตัง  มะมะ,

นั่นไม่ใช่ของเรา,


เนโสหะมัสมิ,

เราไม่เป็นนั่นเป็นนี่,


นะ  เมโส  อัตตาติ,

นั่นไม่ใช่ตนของเราดังนี้,


เอวะเมตัง  ยะถาภูตัง

ข้อนี้อันท่านทั้งหลาย พึงเห็นด้วยปัญญา


สัมมัปปัญญายะ  ทัฏฐัพพัง,

อันชอบตามเป็นจริงแล้วอย่างนั้น,



ยัง  กิญจิ  วิญญาณัง,

วิญญาณอย่างใดอย่างหนึ่ง,


อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนัง,

ที่เป็นอดีตก็ดี อนาคตก็ดี ปัจจุบันก็ดี,


อัชฌัตตัง  วา  พิหิทธา  วา,

ภายในก็ดี ภายนอกก็ดี,


โอฬาริกัง  วา  สุขุมา  วา,

หยาบก็ดี ละเอียดก็ดี,


หีนัง  วา  ปะณีตัง  วา,

เลวก็ดี  ประณีตก็ดี,


ยันทูเร  สันติเก  วา,

อันใดมีในที่ไกลก็ดี ในที่ใกล้ก็ดี,


สัพพัง  วิญญาณัง,

วิญญาณทั้งหมด ก็เป็นสักว่าวิญญาณ,


เนตัง  มะมะ,

นั่นไม่ใช่ของเรา,


เนโสหะมัสมิ,

เราไม่เป็นนั่นเป็นนี่,


นะ  เมโส  อัตตาติ,

นั่นไม่ใช่ตัวตนของเราดังนี้


เอวะเมตัง  ยะถาภูตัง

ข้อนี้อันท่านทั้งหลาย พึงเห็นด้วยปัญญา


สัมมัปปัญญายะ  ทัฏฐัพพัง,

อันชอบ  ตามเป็นจริงแล้วอย่างนั้น ดังนี้,



เอวัง  ปัสสัง  ภิกขะเว

ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย  อริยะสาวกผู้ได้สดับ


สุตวา  อะริยะสาวะโก,

แล้วเห็นอยู่อย่างนี้,


รูปัสมิงปิ  นิพพินทะติ,

ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในรูป,


เวทะนายะปิ  นิพพินทะติ,

ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในเวทนา,


สัญญายะปิ  นิพพินทะติ,

ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในสัญญา,


สังขาเรสุปิ  นิพพินทะติ,

ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในสังขารทั้งหลาย,


วิญญาณัสมิงปิ  นิพพินทะติ,

ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในวิญญาณ,


นิพพินทัง  วิรัชชะติ,

เมื่อเบื่อหน่ายย่อมคลายกำหนัด,


วิราคา  วิมุจจะติ,

เพราะคลายกำหนัด จิตก็พ้นจากความยึดมั่นถือมั่น,


วิมุตตัสมิง  วิมุตตะมิติ  ญาณัง  โหติ,

เมื่อจิดพ้นแล้ว  ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่าเราพ้นแล้วดังนี้,


ขีณา  ชาติ  วุสิตัง  พรหมะจะริยัง

อริยะสาวกนั้นย่อมทราบชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว


กะตัง  กะระณียัง  นาปะรัง

พรหมจรรย์เราได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ


อิตถัตตายาติ  ปะชานาตีติ,

เราได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี,


อิทะมะโวจะ  ภะคะวา,

พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสธรรมปริยายสูตรอันนี้จบลงแล้ว,


อัตตะมะนา  ปัญจะวัคคิยา  ภิกขู,

พระภิกษุปัญจวัคคีย์ก็มีใจยินดี,


ภะคะวะโต  ภาสิตัง  อะภินันทุง,

เพลิดเพลินภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า,


อิมัสมิญจะ  ปะนะ  เวยยะ

ก็แล เมื่อไวยยากรณ์ (เป็นผู้กระทำซึ่งอรรถะ


กะระณัสมิง ภัญญะมาเน,

ทั้งหลายให้แจ่มแจ้ง) นี้ อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอยู่,


ปัญจะวัคคิยานัง  ภิกขูนัง

จิตของพระภิกษุปัญจวัคคีย์


อะนุปาทายะ, อาสะเวหิ  จิตตานิ

พ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย


วิมุจจิงสูติ.

ไม่ถือมั่นด้วยอุปาทาน ดังนี้แล.



จบ  อนัตตลักขณสูตร


…………………………………………..


คัดลอกจาก……หนังสือธรรมานุสรณ์

                         ทำวัตร  สวดมนต์  ธรรมภาวนา

วัดถ้ำแฝด ต.เขาน้อย อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี



















อนัตตลักขณะสูตร (หน้า ๒)

ตัง  กิง  มัญญะถะ  ภิกขะเว,

ท่านทั้งหลายย่อมสำคัญความนั้น เป็นไฉนภิกษุทั้งหลาย,


รูปัง  นิจจัง  วา  อะนิจจัง  วาติ,

รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง,


อะนิจจัง  ภันเต,

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า,


ยัมปะนานิจจัง  ทุกขัง  วา  ตัง  สุขัง  วาติ,

ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์  หรือเป็นสุขเล่า,


ทุกขัง  ภันเต,

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า,


ยัมปะนานิจจัง  ทุกขัง,

ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์,


วิปะริณามะธัมมัง,

มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา,


กัลลัง  นุ  ตัง  สะมะนุปัสสิตุง,

ควรหรือเพื่อจะตามเห็นสิ่งนั้น,


เอตัง  มะมะ  เอโสหะมัสมิ,

ว่านั้นของเรา เราเป็นนั่นเป็นนี่่


เอโส  เม  อัตตาติ,

นั่นเป็นตนของเรา,


โน  เหตัง  ภันเต,

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ความพิจารณาเห็น

อย่างนั้นไม่ควร  พระเจ้าข้า,



ตัง  กิง  มัญญะถะ  ภิกขะเว,

ท่านทั้งหลาย  ย่อมสำคัญความนั้นเป็นไฉน ภิกษุทั้งหลาย,


เวทะนา  นิจจา  วา  อะนิจจา  วาติ,

เวทนา เที่ยงหรือไม่เที่ยง


อะนิจจัง  ภันเต,

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ไม่เที่ยงพระเจ้าข้า,


ยัมปะนานิจจัง  ทุกขัง  วา  ตัง  สุขัง  วาติ,

ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ หรือเป็นสุขเล่า,


ทุกขัง  ภันเต,

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า,


ยัมปะนานิจจัง  ทุกขัง,

ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์,


วิปะริณามะธัมมัง,

มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา,


กัลลัง  นุ  ตัง  สะมะนุปัสสิตุง,

ควรหรือเพื่อจะตามเห้นสิ่งนั้น,


เอตัง  มะมะ  เอโสหะมัสมิ,

ว่านั่นของเรา  เราเป็นนั่นเป็นนี่,


เอ  โส  เม  อัตตาติ,

นั่นเป็นตัวของเรา,


โน  เหตัง  ภันเต,

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ความพิจารณาเห็น

อย่างนั้นไม่ควร พระเจ้าข้า,



ตัง  กิง  มัญญะถะ  ภิกขะเว,

ท่านทั้งหลาย ย่อมสำคัญความนั้นเป็นไฉน ภิกษุทั้งหลาย,


สัญญา  นิจจา  วา  อะนิจจา  วาติ,

สัญญา เที่ยงหรือไม่เที่ยง,


อะนิจจา  ภันเต,

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า,


ยัมปะนานิจจัง  ทุกขัง  วา  ตัง  สุขัง  วาติ,

ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ หรือเป็นสุขเล่า,


ทุกขัง  ภันเต,

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า,


ยัมปะนานิจจัง  ทุกขัง

ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวน


วิปะริณามะธัมมัง,

ไปเป็นธรรมดา


กัลลัง  นุ  ตัง  สะมะนุปัสสิตุง,

ควรหรือเพื่อจะตามเห็นสิ่งนั้น,


เอตัง  มะมะ  เอโสหะมัสมิ,

ว่านั่นของเรา เราเป็นนั่นเป็นนี่,


เอ  โส  อัตตาติ,

นั่นเป็นตนของเรา,


โน  เหตัง  ภันเต,

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ความพิจารณาเห็น

อย่างนั้นไม่ควร พระเจ้าข้า,



ตัง  กิง  มัญญะถะ  ภิกขะเว,

ท่านทั้งหลายย่อมสำคัญความนั้นเป็นไฉน ภิกษุทั้งหลาย


สังขารา  นิจจา  วา  อะนิจจา  วาติ,

สังขารทั้งหลายเที่ยงหรือไม่เที่ยง,


อะนิจจา  ภันเต,

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า,


ยัมปะนานิจจัง  ทุกขัง  วาตังสุขัง  วาติ,

ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า,


ทุกขัง  ภันเต,

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า,


ยัมปะนานิจจัง  ทุกขัง,

ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์,


วิปะริณามะธัมมัง,

มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา,


กัลลัง  นุ  ตัง  สะมะนุปัสสิตุง,

ควรหรือเพื่อจะตามเห็นสิ่งนั้น,


เอตัง  มะมะ  เอโสหะมัสสมิ,

ว่านั่นของเรา เราเป็นนั่นเป็นนี่,


เอโส  เม  อัตตาติ,

นั่นเป็นตนของเรา,


โน  เหตัง  ภันเต,

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ความพิจารณาเห็น

อย่างนั้น ไม่ควร พระเจ้าข้า,



ตัง  กิง  มัญญะถะ  ภิกขะเว,

ท่านทั้งหลายย่อมสำคัญความนั้นเป็นไฉน 

ภิกษุทั้งหลาย,


วิญญาณัง  นิจจัง  วา  อะนิจจัง  วาติ,

วิญญาณเที่ยงหรือไม่เที่ยง,


อะนิจจัง  ภันเต,

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า,


ยัมปะนานิจจัง  ทุกขัง  วาตังสุขัง  วาติ,

ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า


ทุกขัง  ภันเต,

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า,


ยัมปะนานิจจัง  ทุกขัง,

ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์,


วิปะริณามะธัมมัง,

มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา,


กัลลัง  นุ  ตัง  สะมะนุปัสสิตุง,

ควรหรือเพื่อจะตามเห็นสิ่งนั้น,


เอตัง  มะมะ  เอโสหะมัสสมิ,

ว่านั่นของเรา เราเป็นนั่นเป็นนี่,


เอ  โส  เม  อัตตาติ,

นั่นเป็นตนของเรา,


โน  เหตัง  ภันเต,

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ความพิจารณาเห็น

อย่างนั้นไม่ควร พระเจ้าข้า,



(ยังมีต่อ)
















อนัตตลักขณะสูตร (หน้า ๑)

เอวัมเม  สุตัง

ข้าพเจ้า (คือพระอานนท์เถระ)  ได้สดับมาแล้วอย่างนี้,


เอกัง  สะมะยัง  ภะคะวา,

สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า,


พาราณะสิยัง  วิหระติ

เสด็จประทับอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวันใกล้


อิสิปตะเน  มิคะทาเย,

เมืองพาราณาสี


ตัตระ  โข  ภะคะวา  ปัญจะวัคคิเย

ในกาลนั้นแล  พระผู้มีพระภาคเจ้า, ตรัสเตือน


ภิกขู  อามันเตสิ,

พระภิกษุปัญจวัคคีย์  ให้ตั้งใจฟังภาษิตนี้ว่า,


รูปัง  ภิกขะเว  อะนัตตา,

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย รูป (คือร่างกายนี้) เป็นอนัตตา, (มิใช่ตัวใช่ตน)


รูปัญจะ  หิทัง  อภิกขะเว

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  ก็ถ้ารูปนี้จักได้เป็น


อัตตา  อะภะวิสสะ,

อัตตา (ตน)  แล้ว,


นะยิทัง  รูปัง  อาพาธายะ

รูปนี้ก้ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ


สังวัตเตยยะ,

(ความลำบาก),


ลัพเภถะ  จะ  รูปเป,

อนึ่ง  สัตว์พึงได้ในรูปตามใจหวัง,


เอวัง  เม  รูปัง  โหตุ,

ว่ารูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด,


เอวัง  เม  รูปัง  มา  อะโหสีติ,

รูปของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย,


ยัสมา  จะ  โข  ภิกขะเว,

ก็เพราะเหตุใดแล  ภิกษุทั้งหลาย,


รูปัง  อะนัตตา,

รูปจึงเป็นอนัตตา,


ตัสมา  รูปัง  อาพาธายะ  สังวัตตะติ,

เพราะเหตุนั้น  รูปจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ,


นะ  จะ  ลัพภะติ  รูเป,

อนึ่ง  สัตว์ย่อมไม่ได้ในรูปตามใจหวัง,


เอวัง  เม  รูปัง  โหตุ,

ว่ารูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด,


เอวัง  เม  รูปัง  มา  อะโหสีติ,

รูปของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย




เวทะนา  อะนัตตา,

เวทนา (คือความรู้สึกอารมณ์)  เป็นอนัตตา,


เวทะนา  จะ  หิทัง  ภิกขะเว

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  ถ้าเวทนานี้จักได้เป็น


อัตตา  อะภะวิสสะ,

อัตตาแล้ว,


นะยิทัง  เวทะนา  อาพาธายะ  สังวัตเตยยะ,

เวทนานี้  ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ,


ลัพเภถะ  จะ  เวทะนายะ,

อนึ่ง  สัตว์พึงได้ในเวทนาตามใจหวัง,


เอวัง  เม  เวทะนา  โหตุ,

ว่าเวทนาของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด,


เอวัง  เม  เวทะนา  มา  อะโหสีติ,

เวทนาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย,


ยัสมา  จะ  โข  ภิกขะเว,

ก็เพราะเหตุใดแล  ภิกษุทั้งหลาย,


เวทะนา  อนัตตา,

เวทนาจึงเป็นอนัตตา,


ตัสมา  เวทะนา  อาพาธายะ  สังวัตตะติ,

เพราะฉะนั้น  เวทนาจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ,


นะ  จะ  ลัพภะติ  เวทะนายะ,

อนึ่ง  สัตว์ย่อมไมได้ในเวทนาตามใจหวัง,


เอวัง  เม  เวทะนา  โหตุ,

ว่าเวทนาของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด,


เอวัง  เม  เวทะนา  มา  อะโหสีติ,

เวทนาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย,





สัญญา  อะนัตตา,

สัญญา (คือความจำ)  เป็นอนัตตา,


สัญญา  จะ  หิทัง  ภิกขะเว

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  ก็ถ้าสัญญานี้จักได้


อัตตา  อะภะวิสสะ,

เป็นอัตตาแล้ว,


นะยิทัง  สัญญา  อาพาธายะ  สังวัตเตยยะ,

สัญญานี้  ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ,


ลัพเภถะ  จะสัญญายะ,

อนึ่ง  สัตว์พึงได้ในสัญญาตามใจหวัง,


เอวัง  เม  สัญญา  โหตุ,

ว่าสัญญาของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด,


เอวัง  เม  สัญญา  มา  อะโหสีติ,

สัญญาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย,


ยัสมา  จะ  โข  ภิกขะเว,

ก็เพราะเหตุใดแล  ภิกษุุทั้งหลาย,


สัญญา  อะนัตตา,

สัญญาจึงเป็นอนัตตา,


สัญญา  จะ  หิทัง  ภิกขะเว

ดูก่อน  ภิกษุทั้งหลาย  ก็ถ้าสัญญานี้จักได้


อัตตา  อะภะวิสสะ,

เป็นอัตตาแล้ว,


นะยิทัง  สัญญา  อาพาธายะ  สังวัตเตยยะ,

สัญญานี้  ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ,


ลัพเภถะ  จะ  สัญญายะ,

อนึ่ง  สัตว์พึงได้ในสัญญาตามใจหวัง,


เอวัง  เม  สัญญา  โหตุ

ว่าสัญญาของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด


เอวัง  เม  สัญญา  มา  อะโหสีติ,

สัญญาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย,


ยัสมา  จะ  โข  ภิกขะเว,

ก็เพราะเหตุใดภิกษุทั้งหลาย,


สัญญา  อะนัตตะ,

สัญญาจึงเป็นอนัตตา,


ตัสมา  สัญญา  อาพาธายะ  สังวัตตะติ,

เพราะเหตุนั้น  สัญญาจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ,


นะ  จะ  ลัพภะติ  สัญญายะ

อนึ่ง  สัตว์ย่อมไม่ได้ในสัญญาตามใจหวัง


เอวัง  เม  สัญญา  โหตุ,

ว่าสัญญาของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด,


เอวัง  เม  สัญญา  มา  อะโหสีติ,

สัญญาของเรา  อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย,




สังขารา  อะนัตตา.

สังขารทั้งหลาย (คือสภาพที่เกิดกับใจ

ปรุงแต่งใจให้ดีบ้าง ชั่วบ้าง) เป็นอนัตตา,


สังขารา  จะ  หิทัง  ภิกขะเว

ดูก่อน  ภิกษุทั้งหลายก็ถ้าสังขารทั้งหลายนี้


สังขารา  จะ  หิทัง  ภิกขะเว

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  ก็ถ้าสังขารทั้งหลายนี้


อัตตา  อะภะวิสสังสุ,

จักได้เป็นอัตตาแล้ว,


นะยิทัง  สังขารา  อาพาธายะ  สังวัตเตยยุง,

สังขารทังหลายนี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ,

 

ลัพเภถะ  จะ  สังขาาเรสุ,

อนึ่ง  สัตว์พึงได้ในสังขารทั้งหลายตามใจหวัง,

 

เอวัง  เม  สังขารา  โหตุ,

ว่าสังขารของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด,

 

เอวัง  เม  สังขารา  มา  อะโหสุนติ

สังขารทั้งหลายของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย,

 

ยัสมา  จะ  โข  ภิกขะเว,

ก็เพราะเหตุใดแล  ภิกษุทั้งหลาย,

 

สังขารา  อะนัตตา,

สังขารทั้งหลายจึงเป็นอนัตตา,

 

ตัสมา  สังขารา  อาพาธายะ

เพราะเหตุนั้นสังขารทั้งหลาย

 

สังวัตตะติ,

จักเป็นไปเพื่ออาพาธ,

 

นะ  จะ  ลัพภะติ  สังขาเรสุ,

อนึ่ง  สัตว์ย่อมไม่ได้ในสังขารทั้งหลายตามใจหวัง,

 

เอวัง  เม  สังขารา  โหตุ,

ว่าสังขารทั้งหลายของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด,

 

เอวัง  เม  สังขารา  มา  อะเหสุนติ,

สังขารทั้งหลายของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย,

 

 

 

 

วิญญาณัง  อะนัตตา,

วิญญาณ (คือใจ)  เป็นอนัตตา,

 

วิญญาณัญจะ  หิทัง  ภิขะเว

ดูก่อน  ภิกษุทั้งหลาย  ก็วิญญาณนี้จักได้

 

อัตตา  อะภะวิสสะ,

เป็นอัตตาแล้ว,

 

นะยิทัง  วิญญาณัง  อาพาธายะ  สังวัตเตยยะ,

วิญญาณนี้ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ,

 

ลัพเภถะ  จะ  วิญญาเณ,

อนึ่ง  สัตว์พึงได้ในวิญญาณตามใจหวัง,

 

เอวัง  เม  วิญญาณัง  โหตุ,

ว่าวิญญาณของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด,

 

เอวัง  เม  วิญญาณัง  มา  อะโหสีติ,

วิญญาณของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย,

 

ยัสมา  จะ  โข  ภิกขะเว,

ก็เพราะเหตุใดแล  ภิกษุทั้งหลาย,

 

วิญญาณัง  อะนัตตา,

วิญญาณจึงเป็นอนัตตา,

 

ตัสมา  วิญญาณัง  อาพาธายะ  สังวัตตะติ,

เพราะเหตุนั้น วิญญาณจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ,

 

นะ  จะ  ลัพภะติ  วิญญาเณ,

อนึ่ง  สัตว์ย่อมไม่ได้ในวิญญาณตามใจหวัง,

 

เอวัง  เม  วิญญาณัง  โหตุ,

ว่าวิญญาณของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด,

 

เอวัง  เม  วิญญาณัง  มา  อะโหสีติ,

วิญญาณของเราจงอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย,

 

 

  (ยังมีต่อ)

 

 

 

 

 

 



















 

ธัมมะจักกัปปะวัตตนสูตร (หน้า ๕)

อะสัญญะสัตตานัง  เทวานัง  สัททัง

พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอะวิหา  ได้ฟังเสียง


สุตวา  อะวิหา  เทวา

ของพรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอะสัญญะสัตตา


สัททะมะนุสสา  เวสุงฯ,

แล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,


อะวิหานัง  เทวานัง  สัททัง  สุตวา

พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอะตัปปา  ได้ฟัง


อะตัปปา  เทวา  สัททะมะนุสสา  เวสุงฯ,

เสียงของพรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอะวิหาแล้ว

ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,


อะตัปปานัง  เทวานัง  สัททัง  สุตวา

พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมสุทัสสา  ได้ฟังเสียง


สุทัสสา  เทวา  สัททะมะนุสสา  เวสุุงฯ,

ของพรหมเจ้าเหล่าชั้นอะตัปปาแล้ว  

ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,


สุทัสสานัง  เทวานัง  สัททัง  สุตวา

พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมสุทัสสี  ได้ฟังเสียง


สุทัสสี  เทวา  สัททะมะนุสสา  เวสุงฯ,

ของพรหมเจ้าเหล่าพรหมสุทัสสาแล้ว

ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,


สุทัสสีนัง  เทวานัง  สัททัง  สุตวา

พรหมเจ้าเหล่าอะกะนิฏฐะกา ได้ฟังเสียง


อะกะนิฏฐะกา  เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุงฯ,

ของพรหมเจ้าเหล่าพรหมสุทัสสีแล้ว

ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,


เอตัมภะคะวะตา  พาราณะสิยัง

ว่านั่นจักร  คือ ธรรม  ไม่มีจักรอื่นสู้ได้  อัน


อิสิปะตะเน  มิคะทาเย  อะนุตตะรัง

พระผู้มีพระภาคเจ้าให้เป็นไปแล้ว  ที่ป่าอิสิ-


ธัมมะจักกัง  ปะวัตติตัง  อัปปะฏิ-

ปตนะมฤคทายวัน  ใกล้เมืองพาราณาสี  อัน


วัตติยัง  สะมะเณนะ  วา  พราหมะ-

สมณพราหมณ์  เทพยดา  มาร  พรหม  และ


เณนะ  วา เทเวนะ  วา  มาเรนะ  วา

พรัหมุนา  วา  เกนะจิ  วา  โลกัสมินติ,

ใคร ๆ  ในโลกยังให้เป็นไปไม่ได้  ดังนี้,



อิติหะ  เตนะ  ขะเณนะ  เตนะ

โดยขณะครู่เดียวนั้น  เสียงขึ้นไปถึงพรหม-


มุหุตเตนะ  ยาวะ  พรัหมะโลกา

โลก  ด้วยประการฉะนี้,


สัทโท  อัพภุคคัจฉิ,

อะยัญจะ  ทะสะสะหัสสี  โลกะธาตุ,

ทั้งหมื่นโลกธาตุ,


สังกัมปิ  สัมปะกัมปิ  สัมปะเวธิ,

ได้หวั่นไหวสะเทือนสะท้านลั่นไป,


อัปปะมาโณ  จะ  โอฬาโร

ทั้งแสงสว่างอันยิ่งไม่มีประมาณ  ได้ปรากฏ


โอภาโส  โลเก  ปาตุระโหสิ,

แล้วในโลก,


อะติกกัมเมวะ  เทวานัง  เทวานุภาวัง,

ล่วงเทวานุภาพ ของเทพยดาทั้งหลายเสียหมด,


อะถะโข  ภะคะวา  อุทานัง

ลำดับนั้นแล  พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรง


อุทาเนสิ,

เปล่งอุทานว่า


อัญญาสิ  วะตะ  โภ  โกณฑัญโญ,

โกณฑัญญะได้รู้แล้วหนอ  ผู้เจริญ,


อัญญาสิ  วะตะ  โภ  โกณฑัญโญติ,

โกณฑัญญะได้รู้แล้วหนอ  ผู้เจริญ,


อิติหิทัง  อายัสมะโต  โกณฑัญญัสสะ

เพราะเหตุนั้น  นามว่า  อัญญาโกณฑัญญะนี้


อัญญาโกณฑัญโญเตววะ  นามัง  อะโหสีติ.

นั่นเทียว  ได้มีแล้วแก่พระผู้มีอายุโกณฑัญญะ

ด้วยประการฉะนี้แล.


จบ…ธัมมะจักกัปปะวัตตนสูตร.

 



ธัมมะจักกัปปะวัตตนสูตร (หน้า ๔)

พราหมะเณนะ  วา  เทเวนะ  วา

มาเรนะ  วา  พรหมุนา   วา

เกนะจิ  วา  โลกัสมินติ,

ในโลกยังให้เป็นไปไม่ได้  ดังนี้


ภุมมานัง  เทวานัง  สัททัง  สุตวา

เทพเจ้าเหล่าชั้นจาตุมหาราช  ได้ฟังเสียง


จาตุมมะหาราชิกา  เทวา

ของเทพเจ้าเหล่าภุมเทวดาแล้ว  ก็ยังเสียง


สัททะมะนุสสาเวสุง,

ให้บันลือลั่น,


จาตุมมะหาราชิกานัง  เทวานัง

เทพเจ้าเหล่าชั้นดาวดึงส์  ได้ฟังเสียงของ


สัททัง  สุตวา  ตาวะติงสา  เทวา

เทพเจ้าเหล่าชั้นจาตุมหาราชแล้ว  ก็ยังเสียง


สัททะมะนุสสาเวสุง,

ให้บันลือลั่น,


ตาวะติงสานัง  เทวานัง  สัททัง

เทพเจ้าเหล่าชั้นยามา  ได้ฟังเสียงของเทพ


สุตวา  ยามาเทวา

เจ้าเหล่าชั้นเหล่าชั้นดาวดึงส์แล้ว  ก็ยังเสียงให้


สัททะมะนุสสาเวสุง,

บันลือลั่น,


ยามานัง  เทวานัง  สัททัง  สุตวา

เทพเจ้าเหล่าชั้นดุสิต  ได้ฟังเสียงของเทพ


ตุสิตา  เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง,

เจ้าเหล่าชั้นยามาแล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,


ตุสิตานัง  เทวานัง  สัททัง  สุตวา

เทพเจ้าเหล่าชั้นนิมมานรตี  ได้ฟังเสียงของ


นิมมานะระตี  เทวา  สัททะ

เทพเจ้าเหล่าชั้นดุสิตแล้ว  ก็ยังเสียงให้


มะนุสสาเวสุง,

บันลือลั่น,


นิมมานะระตีนัง  เทวานัง  สัททัง

เทพเจ้าเหล้าชั้นปรนิมมิตวสวัตตี  ได้ฟัง


สุตวา  ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง  เทวานัง

พรหมเจ้าเหล้าชั้นปาริสสัชชา  ได้ฟัง


สัททัง  สุตวา  พรัหมะปาริสัชชา

เสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นปรนิมมิตวสวัตตี


เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง,

แล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,


ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง  เทวานัง

พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมปาริสสัชชา  ได้ฟัง


สัททัง  สุตวา  พรหมะปาริสัชชา

เสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นปรนิมมิตวสวัตตี


เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง,

แล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,


พรัหมะปาริสัชชานัง  เทวานัง

พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมปุโรหิตา  ได้ฟัง


สัททัง  สุตวา  พรัหมะปะโรหิตา

เสียงของพรหมเจ้าเหล่าชั้นปาริสัชชาแล้ว


เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง,

ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,


พรัหมะปะโรหิตานัง  เทวานัง

พรหมเจ้าเหล่าชั้นมหาพรหม  ได้ฟังเสียง


สัททัง  สุตวา  มะหาพรััหมา  เทวา

ของพรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมปุโรหิตาแล้ว


สัททะมะนุสสาเวสุง,

ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,


มะหาพรัหมมานัง  เทวานัง  สัททัง

พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมปริตตาภา  ได้ฟัง


สุตวา  ปะริตตาภา  เทวา

เสียงของพรหมเจ้าเหล่าชั้นมหาพรหมแล้ว


สัททะมะนุสสาเวสุง,

ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,


ปะริตตาภานัง  เทวานัง  สัททัง

พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอัปปะมาณาภา


สุตวา  อัปปะมาาณาภา  เทวา

ได้ฟังเสียงของพรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหม


สัททะมะนุสสาเวสุง,

ปะริตาภาแล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น.


อัปปะมาณาภานัง  เทวานัง  สัททัง

พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอาภัสรา ได้ฟังเสียง


สุตวา อาภัสรา  เทวา

ของพรหมเจ้าเหล่าพรหมอัปปะมาณาภา


สัททะมะนุสสาเวสุง,

แล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,


อาภัสรานัง  เทวานัง  สัททัง  สุตวา

พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมปะริตตะสุภา  ได้


ปะริตตะสุภา  เทวา

ฟังเสียงของพรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอาภัสรา


สัททะมะนุสสาเวสุง,

แล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,


ปะริตตะสุภาณัง  เทวานัง  สัททัง

พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอัปปะมาณะสุภา


สุตวา  อัปปะมาณะสุภา  เทวา

ได้ฟังเสียงของพรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหม-


สัททะมะนุสสาเวสุง,

ปะริตตะสุภาแล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,


อัปปะมาณะสุภานัง  เทวานัง  สัททัง

พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมสุภะกิณหะกา


สุตวา  สุภะกิณหะกา  เทวา

ได้ฟังเสียงของพรหมเจ้าเหหหหล่าชั้นพรหมอัป-


สัททะมะนุสสาเวสุง,

ปะมาณะสุภาแลส้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,


สุภะกิณณะหะกานัง  เทวานัง

พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมสุภะกิณ-


สัททะมะนุสสาเวสุง,

ณะหะกาแล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,


เวหัปผะลานัง  เทวานัง  สัททัง

พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอะสัญญะสัตตา  ได้


สุตวา  อะสัญญะสัตตา  เทวา

ฟังเสียงของพรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมเวหัป-


สัททะมะนุสสา  เวสุงฯ,

ผะลาแล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,



(ยังมีต่ออีก)




















 

ธัมมะจักกัปปะวัตตนสูตร (หน้า ๓)

ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขะนิโรธะคามินี

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว


ปะฏิปะทา  อะริยะสัจจัง  ภาเว-

ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว


ตัพพันติ  เม  ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะ-

วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว


นุสสุเตสุ  ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ

แก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟัง


ญาณัง  อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ

แล้วในกาลก่อนว่า  ก็ทุกขนิโรธคามินี  ปฏิ-


วิชชา  อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ,

ปฏิปทาอริยสัจจ์นี้นั้นแล  ควรให้เจริญ,



*ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขะนิโรธะคามินี

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว


ปะฏิปะทา  อะริยะสัจจัง  ภาวิตันติ

ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว


เม  ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ

วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว


ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง

แก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟัง


อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา

แล้วในกาลก่อนว่า  ก็ทุกขนิโรธคามินี  ปฏิ-


อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ,

ปทาอริยสัจจ์นี้นั้นแล  อันเราเจริญแล้ว,



*ยาวะกีวัญจะ  เม  ภิกขะเว

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  ปัญญาอันรู้เห็นตาม


อิเมสุ  จะตูสุ  อะริยะสัจเจสุ

เป็นจริงแล้วอย่างไร  ในอริยสัจจ์ ๔ เหล่านี้


เอวันติปะริวัฏฏัง  ทวาทะสาการัง

ของเรา  ซึ่งมีรอบ ๓  มีอาการ ๑๒ อย่างนี้


ยะถาภูตัง  ญาณะทัสสะนัง

ยังไม่เป็นของบริสุทธิ์หมดจดด้วยดีแก่เรา


นะ  สุวิสุทธัง  อะโหสิ,

เพียงใดแล้ว,



*เนวะ  ตาวาหัง  ภิกขะเว  สะเทวะเก

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  เราได้ยืนยันตนว่าเป็น


โลเก  สะมาระเก  สะพรัหมะเก

ผู้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะซึ่งปัญญาเครื่องตรัสรู้


สัสสะมะณะพราหมะณิยา  ปะชายะ

ชอบ  ไม่มีความตรัสรู้อื่นจะยิ่งกว่าในโลก


สะเทวะมะนุสสายะ  อะนุตตะรัง

เป็นไปกับด้วยเทพยดา มาร พรหม ในหมู่


สัมมาสัมโพธิง  อะภิสัมพุทโธ

สัตว์ ทั้งสมณพราหมณ์ เทพยดา มนุษยย์


ปัจจัญญาสิง,

ไม่ได้เพียงนั้น,


ยะโต  จะ  โข  เม  ภิกขะเว  อิเมสุ

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาาย ก็เมื่อใดแลปัญญาอัน


จะตูสุ  อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริ-

รู้เห็นตามเป็นจริงอย่างไรในอริยสัจจ์ ๔


วัฏฏัง  ทวาทะสาการัง  ยะถาภูตัง

เหล่านี้ ของเราซึ่งมีรอบ ๓ มีอาการ ๑๒


ญาณะทัสสะนัง  สุวิสุทธัง  อะโหสิ,

อย่างนี้หมดจดดีแล้ว


อะถาหัง  ภิกขะเว  สะเทวะเก

เมื่อนั้น เราจึงได้ยืนยันว่าเป็นผู้ตรัสรู้


โลเก  สะมาระเก  สะพรัหมะเก

พร้อมเฉพาะ ซึ่งปัญญา เครื่องตรัสรู้ชอบ


สัสสะมะณะพราหมะณิยา  ปะชายะ

ไม่มีความตรัสรู้อื่นยิ่งกว่าในโลก เป็นไปกับ


สะเทวะมะนุสสายะ  อะนุตตะรัง

ด้วยเทพยดา มาร พรหม ในหมู่สัตว์ ทั้ง


สัมมาสัมโพธิง  อะภิสัมพุทโธ  ปัจจัญญาสิง,

สมณพราหมณ์ เทพยดา มนุษย์,

 

ญาณัญจะ  ปะนะ  เม  ทัสสะนัง  อุทะปาทิ

ก็แล ปัญญาอันรู้เห็นได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา,

 

อะกุปปา  เม  วิมุตติ  อายะมันติมา

ว่าความพ้นพิเศษของเราไม่กลับกำเริบ ชาติ

 

ชาติ  นัตถิทานิ  ปุนัพภะโวติ,

นี้เป็นที่สุดแล้ว บัดนี้ไม่มีภพอีก,

 

อิทะมะโวจะ  ภะคะวา,

พระผู้มีพระภาค ได้ตรัสธรรมปริยายนี้แล้ว,

 

อัตตะมะนา  ปัญจะวัคคิยา  ภิกขู,

ภิกษุปัญจวัคคีก็มีใจยินดี,

 

ภะคะวะโต  ภาสิตัง  อะภินันทุง,

เพลินภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า,

 

อิมัสมิญจะ  ปะนะ

ก็แล  เมื่อเวยยากรณ์นี้  อันพระผู้มีพระภาค-

 

เวยยากะระณัสมิง  ภัญญะมาเน,

เจ้าตรัสอยู่,

 

อายัสสะมะโต  โกณฑัญญัสสะ  วิระชัง

จักษุในธรรม อันปราศจากธุลีปราศจากมล-

 

วิตะมะลัง  ธัมมะจักขุง  อุทะปาทิ,

ทินได้เกิดขึ้นแล้วแก่พระผู้มีอายุโกณฑัญญะ,

 

ยังกิญจิ  สะมุทะยะธัมมัง  สัพพันตัง

ว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มีอันเกิดขึ้นเป็นธรรมดา

 

นิโรธะธัมมันติ,

สิ่งทั้งปวงนั้น มีอันดับไปเป็นธรรมดา,

 

ปะวัตติเต  จะ  ภะคะวะตา

ก็ครั้นเมื่อธรรมจักร อันพระผู้มีพระภาคเจ้า

 

ธัมมะจักเก,

ให้เป็นไปแล้ว,

 

ภุมมา  เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง,

เหล่าภุมมเทวดา ก็ยังเสียงให้บันลือลั่นว่า,

 

เอตัมภะคะวะตา  พาราณะสิยัง

นั่นจักร คือ ธรรม ไม่มีจักรอื่นสู้ได้ อันพระ

 

อิสิปะตะเน  มิคะทาเย  อะนุตตะรัง

ผู้มีพระภาคเจ้าให้เป็นไปแล้ว ที่ป่าอิสิปตนะ

 

ธัมมะจักกัง  ปะวัตติตัง

มฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณาสี อันสมณ-

 

อัปปะฏิวัตติยัง  สะมะเณนะ  วา

พราหมณ์ เทพยดา มาร พรหม และใคร ๆ 

 

(ยังมีต่ออีก)

 

 



 

 

 

 

 

 

 

ธัมมะจักกัปปะวัตตนสูตร (หน้า ๒)

*ตังโข  ปะนิทัง  ทุกขัง  อะริยสัจจัง

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว


ปะริญเญยยันติ  เม  ภิกขเว

ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว


ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ

วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้น


จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ

แล้วแก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคย


ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา  อุทะปาทิ

ฟังแล้วในกาลก่อนว่า  ก็ทุกขอริยสัจจ์นี้นั้น


อาโลโก  อุทะปาทิ,

แล  ควรกำหนดรู้,


ตังโข  ปะนิทัง  ทุกขัง  อะริยะสัจจัง

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว


ปะริญญาตันติ  เม  ภิกขะเว

ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว


ปุพเพ  อะนุสสุเตสุ   ธัมเมสุ

วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว


จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ

แก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟัง


ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชา  อุทะปาทิ

แล้วในกาลก่อนว่า  ก็ทุกขอริยสัจจ์นี้นั้นแล


อาโลโก  อุทะปาทิ,

อันเราได้กำหนดรู้แล้ว,


อิทัง  ทุกขะสะมุทะโย

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว


อะริยะสัจจันติ  เม  ภิกขะเว

ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว


ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ

วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้น


จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ

แล้วแก่เรา  ในธรรมทั้งหลายท่ี่เราไม่ได้


ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา  อุทะปาทิ

เคยฟังแล้ว  ในกาลก่อนว่า  นี้ทุกขสมุทัย


อาโลโก  อุทะปาทิ,

อริยสัจจ์,



*ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขะสะมุทะโย

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว


อะริยะสัจจัง  ปะหาตัพพันติ  เม

ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว


ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ

วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว


ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง

แก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟัง


อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา

แล้ว  ในกาลก่อนว่า  ก็ทุกขสมุทัย  อริยสัจจ์


อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ,

นี้นั้นแล  ควรละเสีย,



*ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขะสะมุทะโย

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว


อะริยะสัจจัง  ปะหีนันติ  เม  ภิกขะเว

ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว


ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ

วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว


จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ

แก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟัง


ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา  อุทะปาทิ

แล้วในกาลก่อนว่า  ก็ทุกขสมุทัยอริยสัจจ์นี้


อาโลโก  อุทะปาทิ,

นั้นแล  อันเราได้ละแล้ว,



*อิทัง  ทุกขะนิโรโธ  อะริยะสัจจันติ

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว


เม  ภิกขุะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ

ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว


ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง

วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว


อุทะปาทิ  ปํญญา  อุทะปาทิ  วิชชา

แก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟัง


อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ,

แล้วในกาลก่อนว่่า  นี้ทุกขนิโรธอริยสัจจ์,



*ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขะนิโรโธ

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว


อะริยะสัจจัง  สัจฉิกาตัพพันติ  เม

ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว


ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ

วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว


ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง

แก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟัง


อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา

แล้วในกาลก่อนว่า  ก็ทุกขนิโรธอริยสัจจ์นี้


อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ.

นั้นแล  ควรทำให้แจ้ง,



*ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขะนิโรโธ

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว


อะริยะสัจจัง  สัจฉิกะตันติ  เม

ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว


ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ

วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว


ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง

แก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้  เคยฟัง


อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา

แล้วในกาลก่อนว่า  ก็ทุกขนิโรธอริยสัจจ์นี้นั้น


อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ,

แล  อันเราได้ทำให้แจ้งแล้ว,



*อิทัง  ทุกขะนิโรธะคามินี

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว


ปะฏิปะทา  อะริยะสัจจันติ  เม

ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว


ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ

วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว


ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง

แก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟัง


อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา

แล้วในกาลก่อนว่า  นี้ทุกขนิโรธคามินี  ปฏิ-


อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ,

ปทาอริยสัจจ์,


(ยังมีต่ออีก)

 

ธัมมะจักกัปปะวัตตนสูตร (หน้า ๑)

เอวัมเม  สุตัง,

อันข้าพเจ้า (คือ พระอานนทเถระ) ได้สดับมาแล้วอย่าง,นี้

 

เอกัง  สะมะยัง  ภะคะวา,

สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า,

 

พาราณะสิยัง  วิหะระติ

เสด็จประทับอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน

 

อิสิปะตะเน  มิคะทาเยฯ,

ใกล้เมืองพาราณาสี,

 

ตัตระ  โข  ภะคะวา

ในกาลนั้นแล  พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัส-

 

ปัญจะวัคคิเย  ภิกขู  อามันเตสิ,

เตือนพระภิกขุปัญจวัคคี ว่า ,

 

เทวเม  ภิกขเว  อันตา,

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  ที่สุดสองอย่างนี้,

 

ปัพพะชิเตนะ  นะ  เสวิตัพพา,

อันบรรพชิตไม่ควรเสพ,

 

โย  จายัง  กาเมสุ,

คือ การประกอบตนให้พัวพันด้วยกาม ใน

 

กามะสุขัลลิกานุโยโค,

กามทั้งหลายนี้ใด,

 

หีโน,

เป็นกรรมอันเลว,

 

คัมโม,

เป็นเหตุให้ตั้งบ้านเรือน,

 

โปถุชชะนิโก,

เป็นของคนมีกิเลสหนา,

 

อะนะริโย,

ไม่ใช่ของคนไปจากข้าศึกคือกิเลส,

 

อะนัตถะสัญหิโต,

ไม่ประกอบด้วยประโยชน์อย่างหนึ่ง,

 

โย  จายัง  อัตตะกิละมะถานุโยโค,

คือการประกอบด้วยความเหน็ดเหนื่อยด้วยตน  เหล่าใด

, (ทรมานตนเองอย่างสุดโตง)

 

ทุกโข,

ให้เกิดทุกข์แก่ผู้ประกอบ,

 

อะนะริโย,

ไม่ใช่ของคนไปจากข้าศึกคือกิเลส,

 

อะนัตถะสัญหิโต,

ไม่ประกอบด้วยประโยชน์อย่างหนึ่ง,

 

เอเต  เต  ภิกขะเว  อุโภ  อันเต

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  ข้อปฏิบัติอันเป็นกลาง

 

อะนุปะคัมมะ  มัชฌิมา  ปะฏิปะทา,

ไม่เข้าไปใกล้ที่สุดสองอย่างนี้นั่นนั้น,

 

ตะถาคะเตนะ  อะภิสัมพุทธา,

อันตถาคตได้ตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง,

 

จักขุกะระณี  ญาณะกะระณี,

ทำดวงตา  ทำญาณเครื่องรู้,

 

อุปะสะมายะ  อะภิญญายะ

ย่อมเป็นไปเพื่อความเข้าไปสงบ ระงับเพื่อ

 

สัมโพธายะ นิพพานายะ  สังวัตตะติ,

ความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี เพื่อความดับ,

 

กะตะมา  จะ  สา  ภิขะเว

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ข้อปฏิบัติซึ่งเป็นกลาง

 

มัชฌิมา  ปะฏิปะทา,

นั้นเป็นไฉน,

 

ตะถาคะเตนะ  อะภิสัมพุทธา,

ที่ตถาคตได้ตรัสรู้แล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง,

 

จักขุกะระณี  ญาณะกะระณี,

ทำดวงตา ทำญาณเคครื่องรู้,

 

อุปะสะมายะ  อะภิญญายะ

ย่อมเป็นไปเพื่อความเข้าไปสงบระงับ  เพื่อ

 

สัมโพธายะ  นิพพานายะ  สังวัตตะติ,

ความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี  เพื่อความดับ,

 

อะยะเมวะ  อะริโย

ทางมีองค์ ๘ เครื่องไปจากข้าศึก คือกิเลส

 

อัฏฐังคิโก  มัคโค,

นี้เอง, (พระอริยบุคคลต้องเดินทางานี้)

 

๑.  สัมมาทิฏฐิ,                ความเห็น (ธรรมะถูกต้อง),

๒.  สัมมาสังกัปโป,         ความดำริชอบ,

๓.  สัมมาวาจา,               วาจาชอบ,

๔.  สัมมากัมมันโต,        การงานชอบ,

๕.  สัมมาอาชีโว,            การเลี้ยงชีวิตชอบ,

๖.  สัมมาวายาโม,          ความเพียงชอบ,

๗.  สัมมาสะติ,                การระลึกชอบ, (ปฏิบัติให้สูงขึ้นจากมรรคเป็นผล)

๘.  สัมมาสะมาธิ,            การตั้งจิตชอบ, (พระอริยบุคคลต้องได้สมาธิ หรือ ฌาน เท่านั้น)

 

อะยัง  โข  สา  ภิกขะเว

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  อันนี้แลข้อปฏิบัติซึ่ง

 

มัชฌิมา  ปะฏิปะทา,

เป็นกลางนั้น,

 

ตะถาคะเตนะ  อะภิสัมพุทธา,

ที่ตถาคตได้ตรัสรู้แล้ว  ด้วยปัญญาอันยิ่ง,

 

จักขุกะระณี  ญาณะกะระณี,

ทำดวงตา  ทำญาณเครื่องรู้,

 

อุปะสะมายะ  อะภิญญายะ

ย่อมเป็นไปเพื่อความเข้าไปสงบระงับ  เพื่อ

 

สัมโพธายะ  นิพพานายะ  สังวัตตะติ,

ความรู้ยิ่ง  เพื่อความรู้ดี  เพื่อความดับ,

 

อิทัง  โข  ปะนะ  ภิขะเว

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  ก็นี้แล  เป็นทุกข์อย่าง

 

ทุกขัง  อะริยะสัจจัง,

แท้จริง  คือ

 

ชาติปิ  ทุกขา,

แม้ความเกิดก็เป็นทุกข์,

 

ชะราปิ  ทุกขา,

แม้ความแก่ก็เป็นทุกข์,

 

มะระณัมปิ  ทุกขัง,

แม้ความตายก็เป็นทุกข์,

 

โสกะปริเทวะทุกขะโทมะนัส-

แม้ความโศกความร่ำไรรำพัน

 

สุปายาสาปิ  ทุกขา,

ความไม่สบายกาย  ความไม่สบายใจ

ความคับแค้นใจก็เป็นทุกข์,

 

อัปปิเยหิ  สัมปะโยโค  ทุกโข,

ความประสบกับสิ่งไม่เป็นที่รักที่พอใจ  ก็เป็นทุกข์,

 

ปิเยหิ  วิปปะโยโค  ทุกโข,

ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รักที่พอใจ  ก็เป็นทุกข์,

 

ยัมปิจฉัง  นะ  ละภะติ  ตัมปิ  ทุกขัง,

มีความปรารถนาสิ่งใด  ไม่ได้สิ่นนั้น  นั่นก็เป็นทุกข์,

 

สังขิตเตนะ  ปัญจุปาทานักขันธา  ทุกขา,

ว่าโดยย่อ  อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕  เป็นตัวทุกข์,

 

อิทัง  โข  ปะนะ  ภิขะเว

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  ก็นี้แล  เป็นเหตุให้ทุกข์

 

ทุกขะสะมุทะโย  อะริยะสัจจัง,

เกิดขึ้นอย่างจริงแท้ คือ

 

ยายัง  ตัณหา,

ความทะยานอยากนี้,

 

โปโนพภะวิกา,

ทำให้มีภพอีก,

 

นันทิราคะสะหะคะตา,

เป็นไปกับความกำหนัด  ด้วยอำนาจความเพลิน,

 

ตัตระ  ตัตราภินันทินี,

เพลิดเพลินในอารมณ์นั้น ๆ

 

เสยยะถีทัง,

ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ,

 

กามะตัณหา,

ความทะยานอยากในอารมณ์ที่ใคร่,

 

ภะวะตัณหา,

ความทะยานอยากในความีความเป็น,

 

วิภะวะตัณหา,

ความทะยานอยากในความไม่มี  ไม่เป็น,

 

อิทัง  โข  ปะนะ  ภิกขะเว

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  ก็นี้แล  เป็นความดับ

 

ทุกขะนิโรโธ  อะริยะสัจจัง,

ทุกอย่างจริงแท้  คือ,

 

โย  ตัสสาเยวะ  ตัณหายะ

ความดับโดยสิ้นกำหนัด  โดยไม่เหลือแห่ง

 

อะเสสะวิราคะนิโรโธ,

ตัณหานั้นนั่นเทียว  อันใด,

 

จาโค,

ความสละตัณหานั้น,

 

ปะฏินิสสัคโค,

ความวางตัณหานั้น,

 

มุตติ,

ความปล่อยตัณหานั้น,

 

อะนาละโย,

ความไม่พัวพันแห่งตัณหานั้น,

 

อิทัง  โข  ปะนะ  ภิกขะเว  ทุกขะ

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  ก็นี้แล  เป็นข้อปฏิบัติ

 

นิโรธะคามินี  ปะฏิปทา  อิริยะสัจจัง,

ให้ถึงความดับทุกข์อย่างจริงแท้  คือ

 

อะยะเมวะ  อะริโย

ทางมีองค์ ๘  เครื่องไปจากข้าศึก  คือกิเลส

 

เสสยยะถีทัง,

ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ,

 

๑.  สัมมาทิฏฐิ                     ความเห็นชอบ. (ถูกต้อง)

๒.  สัมมาสังกัปโป,             ความดำริชอบ,

๓.  สัมมาวาจา,                  วาจาชอบ,

๔.  สัมมากัมมันโต,            การงานชอบ,

๕.  สัมมาอาชีโว,               การเลี้ยงชีวิตชอบ,

๖.  สัมมาวายาโม,              ความเพียรชอบ,

๗.  สัมมาสะติ,                   การระลึกชอบ,

๘.  สัมมาสะมาธิ,               การตั้งจิตชอบ,

 

อิทัง  ทุกขัง  อะริยะสัจจันติ  เม

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว

 

ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ

ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว

 

ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง

วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว

 

อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา

แก่เรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้  เคยฟัง

 

อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ,

แล้วในกาลก่อนว่านี้เป็นทุกขอริยสัจจ์,

 

(ยังมีต่อ)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สังคหวัตถุคาถา

ทานัญจะ  เปยยะวัชชัญจะ,

การให้ ๑  ถ้อยคำอันไพเราะ ๑,


อัตถะจริยา  จะ  ยา  อิธะ,

ประพฤติเป็นประโยชน์ในโลกนี้ ๑,


สะมานัตตา  จะ  ธัมเมสุ  ตัตถะ

ความเป็นผู้ประพฤติตนเสมอ  ในธรรมนั้น ๆ 


ตัตถะ  ยะถาระหัง,

ในบุคคลนั้น ๆ ตามควร ๑,


เอเต  โข  สังคะหา  โลเก,

ธรรมเครื่องสงเคราะห์ในโลกเหล่านี้แล,


ระถัสสาณีวะ  ยายะโต,

เปรียบเสมือนลิ่มสลักแห่งรถที่แล่นอยู่,


เอเต  จะ  สังคะหา  นาสสะ,

ถ้าธรรมเครื่องสงเคราะห์เหล่านี้ไม่พึงมีไซร้,


นะ  มาตา  ปุตตะการะณาละเภถะ

มารดา หรือบิดา ไม่พึงได้รับการนับถือ


มานัง  ปูชัง  วา,

หรือบูชา  เพราะเหตุที่ตนมีบุตร,


ปิตา  วา  ปุตตะการะณา  ยัสมา  จะ

เหตุใด  บัณฑิตทั้งหลาย  ย่อมพิจารณาเห็น


สังคะหา  เอเต  สะมะเวกขันติ  ปัณฑิตา,

ชอบ  ซึ่งธรรมเครื่องสงเคราะห์เหล่านี้,


ตัสมา  มะหัตตัง  ปัปโปนติ,

เหตุนั้น  จึงถึงความเป็นคนใหญ่,


ปาสังสา  จะ  ภะวันติ  เตติ.

บัณฑิตทั้งหลายนั้น  ย่อมเป็นผู้ที่ควรสรรเสริญดังนี้แล.

 

……………………………………………………

 

คัดลอกจาก………หนังสือธรรมานุสรณ์

                            ทำวัตร สวดมนต์ ธรรมภาวนา

วัดถ้ำแฝด ต.เขาน้อย อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี

 

………………………………………………………

 

 

 

 

 

 

 

มงคลจักรวาลใหญ่

สิริธิติมะติเตโชชะยะสิทธิมะหิทธิ
ด้วยอานุภาพแห่งพระมหาปุริสลักษณะ ๓๒

มะหาคุณาปะริมิตะ ปุญญาธิ
ประการ แห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นพระ-

การัสสะสัพพันตะรายะนิวาระณะ
อรหันต์ตรัสรู้ชอบโดยพระองค์เอง มีบุญ-

สะมัตถัสสะภะคะวะโต อะระหะโต
ญาธิการ อันกำหนดมิได้ด้วยพระฤทธิ์อัน

สัมมาสัมพุทธัสสะ
ยิ่งใหญ่ด้วยพระคุณอันยิ่งใหญ่ อันสำเร็จ

ทวัตติงสะมะหา
ด้วยพระสิริ มีปัญญา ตั้งมั่นมีพระปัญญา

ปุริสะลักขะณานุภาเวนะ,
เครื่องรู้รอบ พระเดชและพระชัยสามารถ
ห้ามเสียซึ่งสรรพอันตราย,

อะสีตยานุพยัญชะนานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระอนุพยัญชนะ ๘๐,

อัฎฐุตตะระสะตะมังคะลานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งมงคล ๑๐๘ ประการ,

ฉัพพัณณะรังสิยานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระรัศมีมีพรรณ ๖ ประการ,

เกตุมาลานุภาเวนะ
ด้วยอานุภาพ แห่งพระเกตุมาลา,

ทะสะปาระมิตานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระบารมี ๑๐ ประการ

ทะสะอุปะปาระมิตานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระอุปาบารมี ๑๐ ประการ

ทะสะปะระมัตถะปาระมิตานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระปรมัตถบารมี ๑๐ ประการ,

สิละสะมาธิปัญญานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่ง ศีล สมาธิ ปัญญา,

พุทธานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระพุทธรัตนะ,

ธัมมานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระธรรมรัตน,

สังฆานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระสังฆรัตนะ,

เตชานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระเดช,

อิทธานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระฤทธิ์,

พะลานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระกำลัง,

เญยยะธัมมานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระเญยยธรรม,

จะตุราสีติสะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระธรรมขันธ์ ๘หมื่น ๔ พัน,

นะวะโลกุตตะระธัมมานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งโลกุตรธรรม ๙ ประการ,

อัฎฐังคิกะมัคคานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระอริยมรรคมีองค์ ๘ ประการ,

อัฎฐะสะมาปัตติยานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระสมาบัติ ๘ ประการ,

ฉะฬะภิญญานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพแห่งพระอภิญญา ๖ ประการ,

จะตุสัจจะญาณานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระญาณในสัจจะ ๔.

ทะสะพะละญาณานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระญาณมีกำลัง ๑๐ ประการ,

สัพพัญญุตะญาณานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระสัพพัญญุตญาณ,

เมตตากะรุณามุทิตาอุเปกขานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระเมตตา พระกรุณา
พระมุทิตา พระอุเบกขา,

สัพพะปะริตตานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระปริตรทังปวง,

ระตะนัตตะสะระณานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งอันระลึกถึงพระรัตนตรัย

ตุยหัง สัพพะโรคะ โสกุปัททะวะ-
เหล่าโรค โสกะ อุปัทวะ ทุกข์ โทมนัส

ทุกขะโทมะนัสสุปายาสา วินัสสันตุ,
อุปายาส ทั้งปวงของท่านจงสิ้นสูญไป,

สัพพะอันตะรายาปิ วินัสสันตุ,
แม้เหล่าอันตรายทั้งปวง จงสิ้นสูญไป,

สัพพะสังกัปปา ตุยหัง สะมิชณันตุ,
สรรพความดำริทั้งหลายของท่าน จงสำเร็จด้วยดี,

ทีฆายุตา ตุยหัง โหตุ,
ความเป็นผู้มีอายุยืน จงมีแก่ท่าน,

สะตะวัสสะชีเวนะ สะมังคิโก
ท่านจงเป็นผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยความ

โหตุ สัพพะทา,
เป็นอยู่ สิ้น ๑๐๐ ปีทุกเมื่อ,

อากาสะปัพพะตะวะนะภูมิคังคา
เทพเจ้าทั้งหลายผู้คุ้มครองสถิตอยู่ในอากาศ

มะหาสะมุททา อารักขะกา เทวะตา,
และบรรพตไพรสณฑ์ ภูมิสถาน แม่น้ำคงคา มหาสมุทร,

สะทา ตุมเห อะนุรักขันตุ
จงตามรักษาท่านทั้งหลาย ทุกเมื่อ เทอญ,

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง,
ขอสรรพมงคล จงมีแก่ท่าน,

รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
ขอเหล่าเทวดาทั้งปวงจงรักษาท่าน,

สัพพะพุทธานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง,

สะทา โสตถี ภะวันตุ เต,
ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ,

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง,
ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน,

รักขันตุ สัพพะเทวตา,
ขอเหล่าเทวดาทั้งปวงจงรักษาท่าน,

สัพพะธัมมานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระธรรมทั้งปวง,

สะทา โสตถี ภะวันตุ เต,
ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ,

ภะวะตุ สัพพะ มังคะลัง,
ขอสรรพมงคล จงมีแก่ท่าน,

รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
ขอเหล่าเทวดาทั้งปวงจงรักษาท่าน,

สัพพะ สังฆานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่พระสงฆ์ทั้งปวง,

สะทา โสตถี ภะวันตุ เต,
ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ,

นักขัตตะยักขะภูตานัง
ความป้องกัน บาปเคราะห์ทั้งหลาย แต่

ปาปัคคะหะนิวาระณา,
สำนักแห่งเหล่านักษัตร และยักษ์ และภูต ได้มีแล้ว

ปะริตตัสสานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพแห่งพระปริตร,

หันตวา เตสัง อุปัททะเว,
จงกำจัดเสียซึ่งอุปัทวะทั้งหลายเหล่านั้น,

ปาปัคคะหะนิวาระณา,
สำนักแห่งเหล่านักษัตรและยักษ์ และภูตได้มีแล้ว,

ปะริตตัสสานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระปริตร,

หัตวา เตสัง อุปัททะเว,
จงกำจัดเสียซึ่งอุปัทวะทั้งหลายเหล่านั้น,

นักขัตตะยักขะภูตานัง,
ความป้องกันบาปเคราะห์ทั้งหลาย แต่,

ปาปัคคะหะนิวาระณา,
สำนักแห่งเหล่านักษัตร และยักษ์ และภูตได้มีแล้ว,

ปะริตตัสสานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพแห่งพระปริตร,

หันตวา เตสัง อุปัททะเว,
จงกำจัดเสียซึ่งอุปัทวะทั้งหลายเหล่านั้น.

…………………………………………………….

คัดลอกจาก……หนังสือธรรมานุสรณ์
ทำวัตร สวดมนต์ ธรรมภาวนา
วัดถ้ำแฝด ต.เขาน้อย อ.ท่าม่วง จ.กาญนบุรี

………………………………………………….